ปัจจุบันขนมไทยสอดแทรกอย่างกลมกลืน เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประจำชาติ มีบทบาทสำคัญในพิธีการต่างๆไม่ว่าจะเป็นงานบุญ งานเทศกาล หรือประเพณีที่สำคัญอันสะท้อนถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละชุมชนได้เป็น อย่างดี นอกจากนั้นเตาทำขนมไทยยังแอบซ่อนความหมายอันเป็นมงคลไว้อย่างน่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นงานวันเกิด งานขึ้นบ้านใหม่ หรืองานแต่งงาน ก็จะมีขนมไทยความหมายดีๆประกอบอยู่ในพิธีอย่างขาดเสียไม่ได้ ขนมไทยที่ใช้ในงานประเพณีและศาสนา ขนมไทยในกลุ่มนี้จะสอดแทรกอยู่ในงานประเพณีต่างๆรวมถึงงานบุญทางศาสนาด้วย ตัวอย่างเช่น ในประเพณีปีใหม่ของไทย นอกจากมีการทำบุญตักบาตร รดน้ำดำหัวแล้ว คนไทยในสมัยโบราณนิยมเตาทำขนมกาละแมร์และข้าวเหนียวแดงเพื่อถวายพระและแจกจ่ายให้เพื่อนบ้านอีกด้วย
นอกจากนั้นในช่วงวันสารทไทยก็มักจะนิยมทำขนมกระยาสารทเพื่อทำบุญรำลึกถึงบรรพชนที่ล่วงลับไปแล้ว โดยจะตักบาตรด้วยกระยาสารทที่ตัดเป็นชิ้นๆแล้วห่อด้วยใบตองคู่กับกล้วยไข่เป็นของแกล้มกัน ส่วนขนมไทยที่ใช้กับงานมงคลต่างๆมักจะมีขนมไทยความหมายดีๆประกอบอยู่ในพิธีอย่างขาดเสียมิได้ ไม่ว่าจะเป็นงานบวช งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่ โดยงานมงคลเหล่านี้มักจะมีการทำบุญเลี้ยงพระ ตัวอย่างขนมไทยที่ใช้ในงานมงคลได้แก่ ขนมชั้น เม็ดขนุน ขนมถ้วยฟู ขนมปุยฝ้าย เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีเตาทำขนมที่มีคำว่าทองทั้งหลาย เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ทองเอก ทองพลุ เพื่อมีความหมายนัยว่าเงินทองจะได้ไหลมาเทมา
เตาทำขนมส่วนเม็ดขนุนก็สื่อถึงการทำภารกิจใดๆ ก็จะลุล่วงไปได้ด้วยดี มีคนช่วยเหลือสนับสนุนให้งานสำเร็จ ขนมถ้วยฟู / ปุยฝ้ายสื่อถึงความเฟื่องฟู ส่วนในงานฉลองเลื่อนยศเลื่อนตำแหน่งก็มักจะมีขนมจ่ามงกุฏเพื่อสื่อถึงยศตำแหน่งที่เพิ่มสูงขึ้น เป็นต้น เนื่องจากขนมไทยเป็นของหวานที่นิยมทำและรับประทานกันในประเทศไทย สะท้อนถึงเอกลัษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติ โดยแสดงถึงความละเอียดอ่อน ความพิถีพิถัน และความปราณีตตั้งแต่การเลือกวัตถุดิบจนถึงขึ้นตอนการทำอย่างกลมกลืนของศาสตร์และศิลป์ ส่งผลให้ขนมไทยโดดเด่นในด้านรสชาติที่อร่อยหอมหวาน สีสัน รูปลักษณ์ สวยงาม ชวนน่ารับประทาน เป็นที่ต้องตาต้องลิ้นแก่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ